โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้ทำไมจะดึ การแปล - โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้ทำไมจะดึ อังกฤษ วิธีการพูด

โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้อ

โครงการพระราชดำริฝนหลวง
เงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้
ทำไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทำฝน
ก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทำได้ มีหนังสือ
เคยอ่านหนังสือ ทำได้..."

พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

โครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณที่ห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ที่ต้องประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากความผันแปร และความคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาติ


นับตั้งแต่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ได้รับสนองพระราชดำริไปดำเนินการศึกษาค้นคว้าทดลองโปรยสารเคมีด้วยเครื่องบินเป็นครั้งแรก ณ วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เมื่อ ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๒ จากนั้นเป็นต้นมา ก็มีการขยายผลการปฏิบัติไปช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ เป็นประจำทุกปี จนรัฐบาลได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๘


พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวกับฝนหลวง เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่วางแผนสาธิตการทำฝนหลวงลงอ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ให้ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ชมวางแผนปฏิบัติการด้วยพระองค์เอง สามารถทำให้ฝนตกลงสู่พื้นที่เป้าหมายอ่างเก็บน้ำได้อย่างแม่นยำภายในเวลาที่กำหนด


ภารกิจของสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงมีเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ และเพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวยิ่งขึ้น เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๕ คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้รวมสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงกับกองบินเกษตรเข้าเป็นหน่วยงานเดียว ชื่อว่า "สำนักฝนหลวงและการบินเกษตร"


กองทัพอากาศได้เข้ามารับสนองพระราชดำริในโครงการฝนหลวงอย่างจริงจัง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๕ เนื่องจากในปีนั้นได้เกิดภาวะฝนแล้งผิดปกติในฤดูเพาะปลูก และเกิดขาดแคลนน้ำอย่างหนัก กองทัพอากาศจึงได้จัดเครื่องบินพร้อมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวงตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร้องขอ จนถึง พ.ศ.๒๕๓๗ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ที่ประเทศชาติจะได้รับจากโครงการฝนหลวงในพระราชดำริ จึงได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงกองทัพอากาศขึ้น เพื่อวางแผน อำนวยการ ควบคุม กำกับการ และประสานการปฏิบัติร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ในการปฏิบัติการฝนหลวงของกองทัพอากาศ มิใช่เพียงการใช้เครื่องบินและกำลังพลเข้าปฏิบัติการเท่านั้น หากแต่ยังได้จัดทำ

โครงการวิจัยและพัฒนากระสุนสารเคมีซิลเวร์ไอโอไดด์ ที่ใช้กับเครื่องบินที่ปฏิบัติการทำฝนหลวงในเมฆเย็น
โครงการวิจัยควบคุมดินฟ้าอากาศ แนววิจัยโครงการนี้คือ การนำสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า ทำให้เมฆรวมตัวและก่อให้เกิดฝนตกได้ ถึงแม้ว่าในขณะนั้นท้องฟ้าจะไม่มีเมฆเลยก็ตาม ซึ่งกองทัพอากาศสามารถผลิตจรวดที่นำสารเคมีบรรจุในหัวจรวด แล้วยิงขึ้นฟ้าที่ระดับความสูง ๑-๑.๕ กม.

ในช่วงฤดูแล้งของ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้เกิดภาวะขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคอย่างรุนแรงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในพื้นที่ ๘ จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาวะดังกล่าวได้สร้างความเดือดร้อนทุกข์ยากให้ประชาชนอย่างหนัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ ผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ ๒๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๐ ให้หาลู่ทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็วด้วย อันนำไปสู่โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียว


ในปีเดียวกันนี้เอง กองทัพเรือก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมปฏิบัติงานในโครงการปฏิบัติฝนหลวงพิเศษตามพระราชดำริ ภายใต้โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียว และในทุกปีที่ผ่านมา ในส่วนของกองเรือยุทธการ จะทำพิธีส่งเจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการฝนหลวงพิเศษกองทัพเรือ ประมาณต้นเดือนมีนาคม ณ กองการบินทหารเรือ จะมีโอกาสอวดธงราชนาวีเหนือน่านฟ้าของไทย ในภารกิจบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชน


บัดนี้ โครงการฝนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริไว้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลแก่อาณาประชาราษฎร์ ช่วยให้พื้นที่ที่เคยแห้งแล้งกลับมีความชุ่มชื่น ก่อให้เกิดความชุ่มฉ่ำแก่แผ่นดิน แม้แต่น้ำในเขื่อนต่างๆ ที่ใกล้จะหมดก็มีปริมาณมากขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาญาณ ในพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช อย่างแท้จริง

เขียนโดย TKA296612 ที่ 08:46 1 ความคิดเห็น: หน้าแรก สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)

0/5000
จาก: -
เป็น: -
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 1: [สำเนา]
คัดลอก!
โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้ทำไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทำฝนก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทำได้ มีหนังสือเคยอ่านหนังสือ ทำได้..."พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณที่ห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ที่ต้องประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากความผันแปร และความคลาดเคลื่อนของฤดูกาลตามธรรมชาตินับตั้งแต่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ได้รับสนองพระราชดำริไปดำเนินการศึกษาค้นคว้าทดลองโปรยสารเคมีด้วยเครื่องบินเป็นครั้งแรก ณ วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เมื่อ กรกฎาคม ๒๕๑๒ จากนั้นเป็นต้นมา ก็มีการขยายผลการปฏิบัติไปช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ เป็นประจำทุกปี จนรัฐบาลได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๘ ๒พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวกับฝนหลวง เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่วางแผนสาธิตการทำฝนหลวงลงอ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ให้ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ชมวางแผนปฏิบัติการด้วยพระองค์เอง สามารถทำให้ฝนตกลงสู่พื้นที่เป้าหมายอ่างเก็บน้ำได้อย่างแม่นยำภายในเวลาที่กำหนดภารกิจของสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงมีเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ และเพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวยิ่งขึ้น เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๕ คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้รวมสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงกับกองบินเกษตรเข้าเป็นหน่วยงานเดียว ชื่อว่า "สำนักฝนหลวงและการบินเกษตร"กองทัพอากาศได้เข้ามารับสนองพระราชดำริในโครงการฝนหลวงอย่างจริงจัง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๕ เนื่องจากในปีนั้นได้เกิดภาวะฝนแล้งผิดปกติในฤดูเพาะปลูก และเกิดขาดแคลนน้ำอย่างหนัก กองทัพอากาศจึงได้จัดเครื่องบินพร้อมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวงตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ร้องขอ จนถึง พ.ศ.๒๕๓๗ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ที่ประเทศชาติจะได้รับจากโครงการฝนหลวงในพระราชดำริ จึงได้จัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการฝนหลวงกองทัพอากาศขึ้น เพื่อวางแผน อำนวยการ ควบคุม กำกับการ และประสานการปฏิบัติร่วมกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในการปฏิบัติการฝนหลวงของกองทัพอากาศ มิใช่เพียงการใช้เครื่องบินและกำลังพลเข้าปฏิบัติการเท่านั้น หากแต่ยังได้จัดทำโครงการวิจัยและพัฒนากระสุนสารเคมีซิลเวร์ไอโอไดด์ ที่ใช้กับเครื่องบินที่ปฏิบัติการทำฝนหลวงในเมฆเย็น โครงการวิจัยควบคุมดินฟ้าอากาศ แนววิจัยโครงการนี้คือ การนำสารเคมีขึ้นไปโปรยในท้องฟ้า ทำให้เมฆรวมตัวและก่อให้เกิดฝนตกได้ ถึงแม้ว่าในขณะนั้นท้องฟ้าจะไม่มีเมฆเลยก็ตาม ซึ่งกองทัพอากาศสามารถผลิตจรวดที่นำสารเคมีบรรจุในหัวจรวด แล้วยิงขึ้นฟ้าที่ระดับความสูง ๑ - ๑.๕ กม.ในช่วงฤดูแล้งของ พ.ศ.๒๕๓๐ ได้เกิดภาวะขาดแคลนน้ำอุปโภคบริโภคอย่างรุนแรงขึ้นอีกครั้งหนึ่ง ในพื้นที่ ๘ จังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาวะดังกล่าวได้สร้างความเดือดร้อนทุกข์ยากให้ประชาชนอย่างหนัก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงพระราชทานกระแสพระราชดำรัสแก่ ผู้บัญชาการทหารบก เมื่อ ๒๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๓๐ ให้หาลู่ทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยเร็วด้วย อันนำไปสู่โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียวในปีเดียวกันนี้เอง กองทัพเรือก็ได้มีโอกาสเข้าร่วมปฏิบัติงานในโครงการปฏิบัติฝนหลวงพิเศษตามพระราชดำริ ภายใต้โครงการน้ำพระทัยจากในหลวง หรือโครงการอีสานเขียว และในทุกปีที่ผ่านมา ในส่วนของกองเรือยุทธการ จะทำพิธีส่งเจ้าหน้าที่ชุดปฏิบัติการฝนหลวงพิเศษกองทัพเรือ ประมาณต้นเดือนมีนาคม กองการบินทหารเรือ จะมีโอกาสอวดธงราชนาวีเหนือน่านฟ้าของไทย ในภารกิจบรรเทาความเดือดร้อนให้กับประชาชน ณบัดนี้ โครงการฝนหลวงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานแนวพระราชดำริไว้ ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๙๘ ได้ก่อให้เกิดประโยชน์อย่างมหาศาลแก่อาณาประชาราษฎร์ ช่วยให้พื้นที่ที่เคยแห้งแล้งกลับมีความชุ่มชื่น ก่อให้เกิดความชุ่มฉ่ำแก่แผ่นดิน แม้แต่น้ำในเขื่อนต่างๆ ที่ใกล้จะหมดก็มีปริมาณมากขึ้น ทั้งนี้ด้วยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาญาณ ในพระบาทสมเด็จพระจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช อย่างแท้จริง เขียนโดย TKA296612 ที่ 08:46 1 ความคิดเห็น: หน้าแรก สมัครสมาชิก: บทความ (Atom)
การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 2:[สำเนา]
คัดลอก!
พระ ราชดำริ ฝน หลวง โครงการ
เงย ดู หน้า มี ท้องฟ้า เมฆ ทำไม มี นี้ เมฆ อย่าง
ทำไม จะ ดึง เมฆ นี่ มา ลง ให้ ได้ ก็ ทำ เรื่อง เคย ได้ยิน ฝน
ก็ มา กับ คุณ ปรารภ เทพ ฤทธิ์ ฝน ทำได้ มี หนังสือ
เคย อ่าน หนังสือ ทำได้ ... "

พระ ราช ดำรัส พระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว

โครงการ พระ ราชดำริ ฝน หลวง เป็น โครงการ ที่ ก่อ กำเนิด จาก พระ มหากรุณาธิคุณ ที่ ห่วงใย ใน ความ ทุกข์ ยาก ของ พสกนิกร ใน ท้องถิ่น ทุรกันดาร ที่ ต้อง ประสบ ปัญหา การ ขาดแคลน น้ำ เพื่อ อุปโภค บริโภค และ เกษตรกรรม อัน เนื่อง มา จาก ภาวะ แห้งแล้ง ซึ่ง มี สาเหตุ มา จาก ความ ผันแปร และ ความ คลาดเคลื่อน ของ ฤดูกาล ตาม ธรรมชาติ


นับ ตั้งแต่ ม. ร. ว. เทพ ฤทธิ์ เทว กุล ได้ รับ สนอง พระ ราชดำริ ไป ดำเนิน การ ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง โปรย สาร เคมี ด้วย เครื่องบิน เป็น ครั้ง แรก ณ วน อุทยานแห่งชาติ เขา ใหญ่ เมื่อ 2 กรกฎาคม 2512 จาก นั้น เป็นต้น มา ก็ มี การ ขยาย ผล การ ปฏิบัติ ไป ช่วยเหลือ เกษตรกร ใน พื้นที่ ต่างๆ เป็น ประจำ ทุก ปี จน รัฐบาล ได้ ตรา พระราชกฤษฎีกา ก่อตั้ง สำนักงาน ปฏิบัติการ ฝน หลวง ใน สังกัด สำนักงาน ปลัด กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ เมื่อ พ.ศ. 2518


พระ ราช กรณียกิจ ที่ เกี่ยว กับ ฝน หลวง เป็น วัน ที่ พระบาท สมเด็จ พระเจ้า อยู่ วางแผน สาธิต การ ทำ ฝน หลวง ลง อ่างเก็บน้ำ เขื่อน แก่ง กระจาน จังหวัด เพชรบุรี ให้ ผู้ แทน จาก ประเทศ สิงคโปร์ ชม วางแผน ปฏิบัติการ ด้วย พระองค์ เอง สามารถ ทำให้ ฝน ตกลง สู่ พื้นที่ เป้าหมาย อ่างเก็บน้ำ ได้ อย่าง แม่นยำ ภายใน เวลา ที่ กำหนด


ภารกิจ ของ สำนักงาน ปฏิบัติการ ฝน หลวง มี เพิ่ม มาก ขึ้น ตาม ลำดับ และ เพื่อ ให้ การ ปฏิบัติ งาน มี ความ คล่องตัว ยิ่ง ขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2535 คณะรัฐมนตรี จึง เห็น ชอบ ให้ รวม สำนักงาน ปฏิบัติการ ฝน หลวง กับ กอง บิน เกษตร เข้า เป็น หน่วย งาน เดียว ชื่อว่า " สำนัก ฝน หลวง และ การ บิน เกษตร "


กองทัพ อากาศ ได้ เข้า มา รับ สนอง พระ ราชดำริ ใน โครงการ ฝน หลวง อย่าง จริงจัง ตั้งแต่ พ.ศ. 2515 เนื่องจาก ใน ปี นั้น ได้ เกิด ภาวะ ฝน แล้ง ผิด ปกติ ใน ฤดู เพาะ ปลูก และ เกิด ขาดแคลน น้ำ อย่าง หนัก กองทัพ อากาศ จึง ได้ จัด เครื่องบิน พร้อม เจ้าหน้าที่ สนับสนุน การ ปฏิบัติการ ฝน หลวง ตาม ที่ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ ร้องขอ จนถึง พ.ศ. 2537 ผู้ บัญชาการ ทหาร อากาศ ตระหนัก ถึง ความ สำคัญ และ ประโยชน์ ที่ ประเทศชาติ จะ ได้ รับ จาก โครงการ ฝน หลวง ใน พระ ราชดำริ จึง ได้ จัดตั้ง ศูนย์ ปฏิบัติการ ฝน หลวง กองทัพ อากาศ ขึ้น เพื่อ วางแผน อำนวย การ ควบคุม กำกับ การ และ ประสาน การ ปฏิบัติ ร่วม กับ กระทรวง เกษตรและสหกรณ์


ใน การ ปฏิบัติการ ฝน หลวง ของ กองทัพ อากาศ มิใช่ เพียง การ ใช้ เครื่องบิน และ กำลัง พล เข้า ปฏิบัติการ เท่านั้น หาก แต่ ยัง ได้ จัด ทำ

โครงการ วิจัย และ พัฒนา กระสุน สาร เคมี ซิ ล เว ร์ ไอ โอ ได ด์ ที่ ใช้ กับ เครื่องบิน ที่ ปฏิบัติการ ทำ ฝน หลวง ใน เมฆ เย็น
โครงการ วิจัย ควบคุม ดิน ฟ้า อากาศ แนว วิจัย โครงการ นี้ คือ การนำ สาร เคมี ขึ้น ไป โปรย ใน ท้องฟ้า ทำให้ เมฆ รวม ตัว และ ก่อ ให้ เกิด ฝน ตก ได้ ถึง แม้ว่า ใน ขณะ นั้น ท้องฟ้า จะ ไม่มี เมฆ เลย ก็ตาม ซึ่ง กองทัพ อากาศ สามารถ ผลิต จรวด ที่ นำ สาร เคมี บรรจุ ใน หัว จรวด แล้ว ยิง ขึ้น ฟ้า ที่ ระดับ ความ สูง 1-1.5 กม.

ใน ช่วง ฤดู แล้ง ของ พ. ศ. 2530 ได้ เกิด ภาวะ ขาดแคลน น้ำ อุปโภค บริโภค อย่าง รุนแรง ขึ้น อีก ครั้ง หนึ่ง ใน พื้นที่ 8 จังหวัด ภาค ตะวันออก เฉียง เหนือ ภาวะ ดัง กล่าว ได้ สร้าง ความ เดือดร้อน ทุกข์ ยาก ให้ ประชาชน อย่าง หนัก พระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว จึง พระราชทาน กระแสพระราชดำรัส แก่ ผู้ บัญชาการ ทหาร บก เมื่อ 25 มีนาคม พ.ศ. 2530 ลู่ทาง แก้ไข ปัญหา หา ให้ ดัง กล่าว โดย เร็ว นำ ไป สู่ อัน ด้วย น้ำ โครงการ พระทัย จาก ในหลวง หรือ โครงการ อีสาน เขียว


ใน ปี นี้ เอง เดียวกัน กองทัพ เรือ ก็ได้ โอกาส มี ใน งาน เข้า ร่วม ปฏิบัติ โครงการ ปฏิบัติ ฝน หลวง พิเศษ ตาม พระ ราชดำริ ภาย ใต้ โครงการ น้ำ พระทัย จาก ในหลวง หรือ โครงการ อีสาน เขียว และ ใน ทุก ปี ที่ ผ่าน มา ใน ส่วน ของ กอง เรือ ยุทธการ จะ ทำ พิธี ส่ง เจ้าหน้าที่ ชุด ปฏิบัติการ ฝน หลวง พิเศษ กองทัพ เรือ ประมาณ ต้น เดือน มีนาคม ณ กอง การ บิน ทหาร เรือ จะ มี อวด ธงราชนาวี เหนือ น่านฟ้า โอกาส ของ ไทย ใน ความ ภารกิจ บรรเทา เดือดร้อน ให้ กับ ประชาชน


บัดนี้ โครงการ ฝน หลวง ที่ ได้ พระบาท สมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน แนว พระ ราชดำริ ไว้ ตั้งแต่ พ.ศ. 2498 ได้ ก่อ ให้ เกิด ประโยชน์ อย่าง มหาศาล แก่ อาณาประชาราษฎร์ ช่วย ให้ พื้นที่ ที่ เคย แห้งแล้ง กลับ มี ความ ชุ่มชื่น ก่อ ให้ เกิด ความ ชุ่ม ฉ่ำ แก่ แผ่นดิน แม้แต่ น้ำ ใน เขื่อน ต่างๆ ที่ ใกล้ จะ หมด ก็ มี ปริมาณ มาก ขึ้น ทั้งนี้ ด้วย พระ อัจฉริยภาพ และ พระ ปรีชา ญาณ ใน พระบาท สมเด็จ พระ จ้า อยู่ หัว ภูมิพล อดุลย เดช มหาราช อย่าง แท้จริง

เขียน โดย TKA296612 ที่ 8:46 1 ความ คิดเห็น: หน้า แรก สมัคร สมาชิก: บทความ (Atom)

การแปล กรุณารอสักครู่..
ผลลัพธ์ (อังกฤษ) 3:[สำเนา]
คัดลอก!
โครงการพระราชดำริฝนหลวงเงยหน้าดูท้องฟ้ามีเมฆ ทำไมมีเมฆอย่างนี้ทำไมจะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ ก็เคยได้ยินเรื่องทำฝนก็มาปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทำได้ มีหนังสือเคยอ่านหนังสือ ทำได้... "พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโครงการพระราชดำริฝนหลวง เป็นโครงการที่ก่อกำเนิดจากพระมหากรุณาธิคุณที่ห่วงใยในความทุกข์ยากของพสกนิกรในท้องถิ่นทุรกันดาร ที่ต้องประสบปัญหาการขาดแคลนน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค และเกษตรกรรม อันเนื่องมาจากภาวะแห้งแล้ง ซึ่งมีสาเหตุมาจากความผันแปร และความคลาดเคลื่อน ของฤดูกาลตามธรรมชาตินับตั้งแต่ ม.ร.ว.เทพฤทธิ์ เทวกุล ได้รับสนองพระราชดำริไปดำเนินการศึกษาค้นคว้าทดลองโปรยสารเคมีด้วยเครื่องบินเป็นครั้งแรก ณ วนอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ เมื่อ ๒ กรกฎาคม ๒๕๑๒ จากนั้นเป็นต้นมา ก็มีการขยายผลการปฏิบัติไปช่วยเหลือเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ เป็นประจำทุกปี จนรัฐบ าลได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้งสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวง ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อ พ.ศ.๒๕๑๘พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวกับฝนหลวง เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่วางแผนสาธิตการทำฝนหลวงลงอ่างเก็บน้ำเขื่อนแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี ให้ผู้แทนจากประเทศสิงคโปร์ชมวางแผนปฏิบัติการด้วยพระองค์เอง สามารถทำให้ฝนตกลงสู่พื้นที่เป้าหมายอ่างเก็บน้ำได้อย่างแม่นย ำภายในเวลาที่กำหนดภารกิจของสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงมีเพิ่มมากขึ้นตามลำดับ และเพื่อให้การปฏิบัติงานมีความคล่องตัวยิ่งขึ้น เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๕ คณะรัฐมนตรีจึงเห็นชอบให้รวมสำนักงานปฏิบัติการฝนหลวงกับกองบินเกษตรเข้าเป็นหน่วยงานเดียว ชื่อว่า "สำนักฝนหลวงและการบินเกษตร"กองทัพอากาศได้เข้ามารับสนองพระราชดำริในโครงการฝนหลวงอย่างจริงจัง ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๑๕ เนื่องจากในปีนั้นได้เกิดภาวะฝนแล้งผิดปกติในฤดูเพาะปลูก และเกิดขาดแคลนน้ำอย่างหนัก กองทัพอากาศจึงได้จัดเครื่องบินพร้อมเจ้าหน้าที่สนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวงตามที่กระทรวงเกษต รและสหกรณ์ร้องขอ จนถึง พ.ศ.๒๕๓๗ ผู้บัญชาการทหารอากาศ ตระหนักถึงความสำคัญและประโยชน์ท
การแปล กรุณารอสักครู่..
 
ภาษาอื่น ๆ
การสนับสนุนเครื่องมือแปลภาษา: กรีก, กันนาดา, กาลิเชียน, คลิงออน, คอร์สิกา, คาซัค, คาตาลัน, คินยารวันดา, คีร์กิซ, คุชราต, จอร์เจีย, จีน, จีนดั้งเดิม, ชวา, ชิเชวา, ซามัว, ซีบัวโน, ซุนดา, ซูลู, ญี่ปุ่น, ดัตช์, ตรวจหาภาษา, ตุรกี, ทมิฬ, ทาจิก, ทาทาร์, นอร์เวย์, บอสเนีย, บัลแกเรีย, บาสก์, ปัญจาป, ฝรั่งเศส, พาชตู, ฟริเชียน, ฟินแลนด์, ฟิลิปปินส์, ภาษาอินโดนีเซี, มองโกเลีย, มัลทีส, มาซีโดเนีย, มาราฐี, มาลากาซี, มาลายาลัม, มาเลย์, ม้ง, ยิดดิช, ยูเครน, รัสเซีย, ละติน, ลักเซมเบิร์ก, ลัตเวีย, ลาว, ลิทัวเนีย, สวาฮิลี, สวีเดน, สิงหล, สินธี, สเปน, สโลวัก, สโลวีเนีย, อังกฤษ, อัมฮาริก, อาร์เซอร์ไบจัน, อาร์เมเนีย, อาหรับ, อิกโบ, อิตาลี, อุยกูร์, อุสเบกิสถาน, อูรดู, ฮังการี, ฮัวซา, ฮาวาย, ฮินดี, ฮีบรู, เกลิกสกอต, เกาหลี, เขมร, เคิร์ด, เช็ก, เซอร์เบียน, เซโซโท, เดนมาร์ก, เตลูกู, เติร์กเมน, เนปาล, เบงกอล, เบลารุส, เปอร์เซีย, เมารี, เมียนมา (พม่า), เยอรมัน, เวลส์, เวียดนาม, เอสเปอแรนโต, เอสโทเนีย, เฮติครีโอล, แอฟริกา, แอลเบเนีย, โคซา, โครเอเชีย, โชนา, โซมาลี, โปรตุเกส, โปแลนด์, โยรูบา, โรมาเนีย, โอเดีย (โอริยา), ไทย, ไอซ์แลนด์, ไอร์แลนด์, การแปลภาษา.

Copyright ©2024 I Love Translation. All reserved.

E-mail: